พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
รูปเหมือนหลวงปู...
รูปเหมือนหลวงปู่หลิว หลังพญาเต่าเรือน รุ่น ๑ เนื้อผงว่าน วัดใหม่ไร่แตงทอง นครปฐม ปี 2534 No.2
หลวงปู่หลิวได้บรรพชาอุปสมบท ณ พัทธสีมาพระอุโบสถวัดโบสถ์ ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2478 (วันเสาร์ แรม 15 ค่ำ เดือน 6) เวลา13.00 น.
โดยมีหลวงพ่อโพธาภิรมย์ วัดบ้านเลือก เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่ออินทร์ (เกจิอาจารย์ชื่อดัง จ.ราชบุรี) วัดโบสถ์ เป็นหพระกรรมวาจาจารย์ และมีพระอาจารย์ห่อ วัดบ้านเลือก เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลวงปู่หลิวได้รับฉายาจากพระอุปัชฌาย์ว่า “ปณฺณโก” แปลว่าผู้บริบูรณ์แล้ว

เมื่อุปสมบทแล้วท่านได้มาจำพรรษา ณ วัดหนองอ้อ ซึ่งเป็นวัดประจำหมู่บ้าน เพื่อเล่าเรียนท่างพระปริยัติธรรมและปฏิบัติวิปัสนากรรมฐานควบคู่กันไป ทั้งยังมีความสะดวกสบายเพราะมีญาติพี่น้องและชาวบ้านให้ความอุปฐากอย่างใกล้ชิด

ในพรรษาแรกนั้นท่านได้ช่วยวัดสร้างกี่กระตุก (ที่ทอผ้า) ขึ้นจำนวน 50 ชุด และได้ช่วยเจ้าอาวาสสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่

หลังจากเสร็จสิ้นภาระกิจในการก่อสร้างแล้วท่านได้ไปโปรดอารย์ชาวกระเหรี่ยง สร้างความปลาบปลื้มแก่อาจารยืหัวหน้าเผ่าและชาวบ้าน ที่หลวงปู่เป็นศิษย์กตัญญู ในคราวนี้หลวงปู่หลิวยังได้รับการถ่ายทอดคาถามหามนต์ มหาเวทย์ของชาวมอญ อันเป็นเคล็ดวิชาที่อาจารย์ชาวกระเหรี่ยงเคยบวชเรียนอยู่หลายพรรษา

จากนั้นหลวงปู่หลิวได้วกลงใต้ ไปกราบหลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ จ.เพชรบุรี ฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่อแดงได้ขึ้นกัมมัฏฐานให้ และสอนวิชาทำสมาธิ เข้าญาณสมาบัติ สอนอักขระเลขยันต์ต่างๆ ตลอดจนการเขียนลบผงอิทธิเจ….ปัทถมัง….ตรีนิสิงเห….ฯลฯ

จากนั้นไปกราบพ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน จ.นครศรีธรรมราช พ่อท่านคล้ายได้เมตตาสอนเคล็ดวิชาต่างๆ ให้ด้วยความปราณี

ในช่วงนี้เองหลวงปู่หลิวได้พบกับอาจารย์อุ่ม เสือสมิง “จอมขมังเวทย์ชาวใต้” หลวงปู่หลิวได้ธุดงค์มาถึงตลาดห้วยมุด นครศรีธรรมราช ได้พบชายคนหนึ่งรูปร่างสูงใหญ่กำยำ สักยันต์เต็มตัว….รู้ในภายหลังว่าชื่ออาจารย์อุ่ม เป็นอาจารย์สักยันต์ด้วยนำมันเสือ ได้เข้ามายกมือไหว้ ขอให้ช่วยเป่ากระหม่อมให้หน่อย หลวงปู่หลิวมองด้วยสายตาก็รู้ว่า ชายผู้นี้มีวิชาอาคมต้องการจะมาลองดี จึงบอกไปว่า”ของๆโยมดีอยู่แล้ว” แต่อาจารย์อุ่มกลับไม่ยอม ดักหน้าดักหลัง หลวงปู่ทนรำคาญไม่ไหวจึงเป่ามนต์ไปที่ศีรษะ ทันทีที่ต้องมนต์ใบหน้าของอาจารย์อุ่มเปลียนไปทันที ดวงตาเบิกกว้าง อ้าปากคำราม คล้ายเสียงเสือ ชู 2 แขนกางมือจะตะปบใส่ หลวงปู่หลิวใช้มือขว้าคว้าศีรษะกดหัวลงกับพื้น ปากก็ตะโกนว่า “เสือ..เสือ…ใครไม่เคยเห็นเสือมาดูทางนี้”

………….ชาวบ้านร้านตลาดแตกตื่น พากันวิ่งมาดูพระธุดงค์มือซ้ายแบกกลด และเครื่องอัฏฐบริขารพะรุงพะรัง มือขวากดศีรษะชายร่างใหญ่ หมอบดิ้นไปมาคล้ายเสือ หลวงปู่จึงถามว่า “ยอมไหม” เสืออาจารย์อุ่มจึงพูดขึ้นว่า” ยอม …ยอมแล้ว…ยอมแล้วขอรับ ปล่อยมือเถิดครับ หัวผมจะแตกอยู่แล้ว” พอหลวงปู่หลิวเอามือออก อาจารย์อุ่มก็คลานไปกราบแทบเท้าขอขมาลาโทษ ไม่นึกว่าพระธุดงค์หนุ่มรูปนี้จะมีวิชาเกินตัว ปากก็พร่ำว่า “ผมยอมแล้ว” และยังพูดต่อไปอีกว่า “ขนาดพ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน ยังไม่กล้าจับหัวผมเลย” พร้อมทั้งยกมือไหว้นิมนต์ให้ไปเยี่ยมสำนัก หลวงปู่หลิวทำใจดีสู้เสือ

ที่สำนักของอาจารย์อุ่ม เลี้ยงผี เลี้ยงกุมารทอง เดินเพ่นพ่านไปหมด หลวงปู่หลิวจึงสะกดไว้ด้วยเวทย์มนต์ของอาจารย์ชาวกระหรี่ยง อาจารย์อุ่มได้นำคัมภีร์โบราณต่างๆ มาอวด พร้อมทั้งถวายเหล็กสักยันต์ เครื่องรางของขลังต่างๆ พร้อมทั้งแม่พิมพ์พระเครื่อง แต่หลวงปู่หลิวไม่ยอมรับ หลวงปู่หลิวคงรับไว้แต่แม่พิมพ์พระขนาดเขื่อง เป็นรูปพระพุทธปางมารวิชัยนั่งบัว มีประภามณฑล ข้างๆ มีฉัตร คิดว่าจะนำแม่พิมพ์นี้ไปกดพระแจกแก่ศิษย์และผู้มีจิตศรัทธา หลวงปู่ให้ชื่อพระพิมพ์นี้ว่า “พระประตูชัย” หลวงปุ่สร้างเป็นพระเนื้อดินเผา ใต้บานมีตะกรุด 1 ดอก

จากนั้นท่านได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่ออุ้ม จ.นครสวรรค์
การสร้างเสนาสนะและบูรณปฏิสังขรณ์

พ.ศ.2482 ได้บูรณะ วัดท่าเสา จ.สุพรรณบุรี ท่านได้สร้างกุฏิขึ้น 3 หลัง และพระอุโบสถอีก 1 หลัง

พ.ศ.2484 ท่านไดไปจำพรรษา ณ วัดสนามแย้ จ.กาญจนบุรี ท่านได้บูรณะสิ่งต่างๆ มากมายไม่ว่า กุฏิ วิหาร ศาลาการเปรียญ และโบสถ์ จนมีความเจริยรุ่งเรือง จนเป้นที่รู้จักันดีของประชาชนทั่วไป อุดมการณ์แห่งการสร้างสรรคืพัฒนาของหลวงปู่หลิวสืฐสานการดำเนินการต่อเนื่องในวัดสนามแย้แห่งนี้ เป้นเวลายาวนานถึง 36 ปี ท่านเห็นว่าการทำงานของท่านสมควรแก่เวลาแล้ว ควรกระจายไปสู่ถิ่นอื่นบ้าง

พ.ศ.2520 สร้างวัดไทรทอง ที่ ต.จรเข้เผือก อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี ให้เวลาก่อสร้าง 5 ปีจึงแล้วเสร็จ

พ.ศ.2525 สร้างวัดไร่แตงทอง ที่ ต.ทุ่งลูกนก อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม และได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่แตงทอง เมื่อวันที่ 7 มิถนายน พ.ศ.2535
กลับมาตุภูมิอีกครั้งหนึ่ง

เมื่อหลวงปู่หลิวได้พัฒนาวัดไร่แตงทอง จนเป็นที่เจริยรุ่งเรืองแล้ว ท่านได้ลาออกจากตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่แตงทอง แล้วได้ย้ายกลับมาจำพรรษยังวัดหนองอ้อ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี อันเป็นวัดบ้านเกิด อีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2540 ท่านกลับมาจำพรรษาในฐานะพระลูกวัดองค์หนึ่งเท่านั้น ท่านใช้เวลาสร้างกุฏิหลังใหม่ด้วยเวลาเพียง 5 เดือนเศษ

สิ้นแล้วหลวงปู่หลิว

เริ่มเข้ากลางปี พ.ศ.2543 หลังจากพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลรุ่นเสาร์5 เป็นต้นมา หลวงปู่หลิวเริ่มอาพาธด้วยโรคชรา

ปรัชญฐาอันลึกซึ้งของหลวงปู่หลิว ขณะที่ท่านอาพาธ ก็คือไม่ยินดียินร้ายกับการจะอยู่หรือการจะไป ร่างกายของคนเราเป็นของผสม เมื่อถึงคราวแตกดับก็ต้องแตกดับ

หลวงปู่หลิวเคยปรารภกับลูกหลานว่าเกิดที่หนองอ้อก็อยากตายที่หนองอ้อ และหากว่าถึงเวลาที่ท่านต้องจากไปก็อย่าได้หน่วงเหนี่ยวท่านไว้ เพราะวัฏสงสารเป็นเรื่องธรรมดาของมนุษย์

ในค่ำคืนวันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ.2543 เวลา 20.35 น. หลวงปู่หลิวได้ละสังขารอย่างสงบท่ามกลางลูกหลานที่คอยมาดูใจเป็นครั้งสุดท้าย ที่กุฏิของท่าน วัดหนองอ้อ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี รวมอายุ95 ปี 74 พรรษา
ผู้เข้าชม
905 ครั้ง
ราคา
3900
สถานะ
ยังอยู่
ชื่อร้าน
พีพีพระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
ยุ้ย พลานุภาพLe29Amuletเจริญสุขว.ศิลป์สยามบ้านพระสมเด็จก้อง วัฒนา
บ้านพระหลักร้อยชา วานิชชาวานิชปลั๊ก ปทุมธานีjazzsiam amuletยอด วัดโพธิ์
TotoTatoน้ำตาลแดงkumphatermboonพีพีพระสมเด็จภูมิ IR
Nithipornep8600nattapong939digitalplusขวัญเมืองPoosuphan89
tintinfuchoo18AchitumlawyerMuthitaเทพจิระ

ผู้เข้าชมขณะนี้ 561 คน

เพิ่มข้อมูล

รูปเหมือนหลวงปู่หลิว หลังพญาเต่าเรือน รุ่น ๑ เนื้อผงว่าน วัดใหม่ไร่แตงทอง นครปฐม ปี 2534 No.2




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
รูปเหมือนหลวงปู่หลิว หลังพญาเต่าเรือน รุ่น ๑ เนื้อผงว่าน วัดใหม่ไร่แตงทอง นครปฐม ปี 2534 No.2
รายละเอียด
หลวงปู่หลิวได้บรรพชาอุปสมบท ณ พัทธสีมาพระอุโบสถวัดโบสถ์ ต.บ้านเลือก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2478 (วันเสาร์ แรม 15 ค่ำ เดือน 6) เวลา13.00 น.
โดยมีหลวงพ่อโพธาภิรมย์ วัดบ้านเลือก เป็นพระอุปัชฌาย์ หลวงพ่ออินทร์ (เกจิอาจารย์ชื่อดัง จ.ราชบุรี) วัดโบสถ์ เป็นหพระกรรมวาจาจารย์ และมีพระอาจารย์ห่อ วัดบ้านเลือก เป็นพระอนุสาวนาจารย์ หลวงปู่หลิวได้รับฉายาจากพระอุปัชฌาย์ว่า “ปณฺณโก” แปลว่าผู้บริบูรณ์แล้ว

เมื่อุปสมบทแล้วท่านได้มาจำพรรษา ณ วัดหนองอ้อ ซึ่งเป็นวัดประจำหมู่บ้าน เพื่อเล่าเรียนท่างพระปริยัติธรรมและปฏิบัติวิปัสนากรรมฐานควบคู่กันไป ทั้งยังมีความสะดวกสบายเพราะมีญาติพี่น้องและชาวบ้านให้ความอุปฐากอย่างใกล้ชิด

ในพรรษาแรกนั้นท่านได้ช่วยวัดสร้างกี่กระตุก (ที่ทอผ้า) ขึ้นจำนวน 50 ชุด และได้ช่วยเจ้าอาวาสสร้างศาลาการเปรียญหลังใหญ่

หลังจากเสร็จสิ้นภาระกิจในการก่อสร้างแล้วท่านได้ไปโปรดอารย์ชาวกระเหรี่ยง สร้างความปลาบปลื้มแก่อาจารยืหัวหน้าเผ่าและชาวบ้าน ที่หลวงปู่เป็นศิษย์กตัญญู ในคราวนี้หลวงปู่หลิวยังได้รับการถ่ายทอดคาถามหามนต์ มหาเวทย์ของชาวมอญ อันเป็นเคล็ดวิชาที่อาจารย์ชาวกระเหรี่ยงเคยบวชเรียนอยู่หลายพรรษา

จากนั้นหลวงปู่หลิวได้วกลงใต้ ไปกราบหลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ จ.เพชรบุรี ฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่อแดงได้ขึ้นกัมมัฏฐานให้ และสอนวิชาทำสมาธิ เข้าญาณสมาบัติ สอนอักขระเลขยันต์ต่างๆ ตลอดจนการเขียนลบผงอิทธิเจ….ปัทถมัง….ตรีนิสิงเห….ฯลฯ

จากนั้นไปกราบพ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน จ.นครศรีธรรมราช พ่อท่านคล้ายได้เมตตาสอนเคล็ดวิชาต่างๆ ให้ด้วยความปราณี

ในช่วงนี้เองหลวงปู่หลิวได้พบกับอาจารย์อุ่ม เสือสมิง “จอมขมังเวทย์ชาวใต้” หลวงปู่หลิวได้ธุดงค์มาถึงตลาดห้วยมุด นครศรีธรรมราช ได้พบชายคนหนึ่งรูปร่างสูงใหญ่กำยำ สักยันต์เต็มตัว….รู้ในภายหลังว่าชื่ออาจารย์อุ่ม เป็นอาจารย์สักยันต์ด้วยนำมันเสือ ได้เข้ามายกมือไหว้ ขอให้ช่วยเป่ากระหม่อมให้หน่อย หลวงปู่หลิวมองด้วยสายตาก็รู้ว่า ชายผู้นี้มีวิชาอาคมต้องการจะมาลองดี จึงบอกไปว่า”ของๆโยมดีอยู่แล้ว” แต่อาจารย์อุ่มกลับไม่ยอม ดักหน้าดักหลัง หลวงปู่ทนรำคาญไม่ไหวจึงเป่ามนต์ไปที่ศีรษะ ทันทีที่ต้องมนต์ใบหน้าของอาจารย์อุ่มเปลียนไปทันที ดวงตาเบิกกว้าง อ้าปากคำราม คล้ายเสียงเสือ ชู 2 แขนกางมือจะตะปบใส่ หลวงปู่หลิวใช้มือขว้าคว้าศีรษะกดหัวลงกับพื้น ปากก็ตะโกนว่า “เสือ..เสือ…ใครไม่เคยเห็นเสือมาดูทางนี้”

………….ชาวบ้านร้านตลาดแตกตื่น พากันวิ่งมาดูพระธุดงค์มือซ้ายแบกกลด และเครื่องอัฏฐบริขารพะรุงพะรัง มือขวากดศีรษะชายร่างใหญ่ หมอบดิ้นไปมาคล้ายเสือ หลวงปู่จึงถามว่า “ยอมไหม” เสืออาจารย์อุ่มจึงพูดขึ้นว่า” ยอม …ยอมแล้ว…ยอมแล้วขอรับ ปล่อยมือเถิดครับ หัวผมจะแตกอยู่แล้ว” พอหลวงปู่หลิวเอามือออก อาจารย์อุ่มก็คลานไปกราบแทบเท้าขอขมาลาโทษ ไม่นึกว่าพระธุดงค์หนุ่มรูปนี้จะมีวิชาเกินตัว ปากก็พร่ำว่า “ผมยอมแล้ว” และยังพูดต่อไปอีกว่า “ขนาดพ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน ยังไม่กล้าจับหัวผมเลย” พร้อมทั้งยกมือไหว้นิมนต์ให้ไปเยี่ยมสำนัก หลวงปู่หลิวทำใจดีสู้เสือ

ที่สำนักของอาจารย์อุ่ม เลี้ยงผี เลี้ยงกุมารทอง เดินเพ่นพ่านไปหมด หลวงปู่หลิวจึงสะกดไว้ด้วยเวทย์มนต์ของอาจารย์ชาวกระหรี่ยง อาจารย์อุ่มได้นำคัมภีร์โบราณต่างๆ มาอวด พร้อมทั้งถวายเหล็กสักยันต์ เครื่องรางของขลังต่างๆ พร้อมทั้งแม่พิมพ์พระเครื่อง แต่หลวงปู่หลิวไม่ยอมรับ หลวงปู่หลิวคงรับไว้แต่แม่พิมพ์พระขนาดเขื่อง เป็นรูปพระพุทธปางมารวิชัยนั่งบัว มีประภามณฑล ข้างๆ มีฉัตร คิดว่าจะนำแม่พิมพ์นี้ไปกดพระแจกแก่ศิษย์และผู้มีจิตศรัทธา หลวงปู่ให้ชื่อพระพิมพ์นี้ว่า “พระประตูชัย” หลวงปุ่สร้างเป็นพระเนื้อดินเผา ใต้บานมีตะกรุด 1 ดอก

จากนั้นท่านได้ไปฝากตัวเป็นศิษย์ หลวงพ่ออุ้ม จ.นครสวรรค์
การสร้างเสนาสนะและบูรณปฏิสังขรณ์

พ.ศ.2482 ได้บูรณะ วัดท่าเสา จ.สุพรรณบุรี ท่านได้สร้างกุฏิขึ้น 3 หลัง และพระอุโบสถอีก 1 หลัง

พ.ศ.2484 ท่านไดไปจำพรรษา ณ วัดสนามแย้ จ.กาญจนบุรี ท่านได้บูรณะสิ่งต่างๆ มากมายไม่ว่า กุฏิ วิหาร ศาลาการเปรียญ และโบสถ์ จนมีความเจริยรุ่งเรือง จนเป้นที่รู้จักันดีของประชาชนทั่วไป อุดมการณ์แห่งการสร้างสรรคืพัฒนาของหลวงปู่หลิวสืฐสานการดำเนินการต่อเนื่องในวัดสนามแย้แห่งนี้ เป้นเวลายาวนานถึง 36 ปี ท่านเห็นว่าการทำงานของท่านสมควรแก่เวลาแล้ว ควรกระจายไปสู่ถิ่นอื่นบ้าง

พ.ศ.2520 สร้างวัดไทรทอง ที่ ต.จรเข้เผือก อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี ให้เวลาก่อสร้าง 5 ปีจึงแล้วเสร็จ

พ.ศ.2525 สร้างวัดไร่แตงทอง ที่ ต.ทุ่งลูกนก อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม และได้ดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่แตงทอง เมื่อวันที่ 7 มิถนายน พ.ศ.2535
กลับมาตุภูมิอีกครั้งหนึ่ง

เมื่อหลวงปู่หลิวได้พัฒนาวัดไร่แตงทอง จนเป็นที่เจริยรุ่งเรืองแล้ว ท่านได้ลาออกจากตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดไร่แตงทอง แล้วได้ย้ายกลับมาจำพรรษยังวัดหนองอ้อ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี อันเป็นวัดบ้านเกิด อีกครั้งหนึ่ง เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ.2540 ท่านกลับมาจำพรรษาในฐานะพระลูกวัดองค์หนึ่งเท่านั้น ท่านใช้เวลาสร้างกุฏิหลังใหม่ด้วยเวลาเพียง 5 เดือนเศษ

สิ้นแล้วหลวงปู่หลิว

เริ่มเข้ากลางปี พ.ศ.2543 หลังจากพิธีพุทธาภิเษกวัตถุมงคลรุ่นเสาร์5 เป็นต้นมา หลวงปู่หลิวเริ่มอาพาธด้วยโรคชรา

ปรัชญฐาอันลึกซึ้งของหลวงปู่หลิว ขณะที่ท่านอาพาธ ก็คือไม่ยินดียินร้ายกับการจะอยู่หรือการจะไป ร่างกายของคนเราเป็นของผสม เมื่อถึงคราวแตกดับก็ต้องแตกดับ

หลวงปู่หลิวเคยปรารภกับลูกหลานว่าเกิดที่หนองอ้อก็อยากตายที่หนองอ้อ และหากว่าถึงเวลาที่ท่านต้องจากไปก็อย่าได้หน่วงเหนี่ยวท่านไว้ เพราะวัฏสงสารเป็นเรื่องธรรมดาของมนุษย์

ในค่ำคืนวันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ.2543 เวลา 20.35 น. หลวงปู่หลิวได้ละสังขารอย่างสงบท่ามกลางลูกหลานที่คอยมาดูใจเป็นครั้งสุดท้าย ที่กุฏิของท่าน วัดหนองอ้อ อ.โพธาราม จ.ราชบุรี รวมอายุ95 ปี 74 พรรษา
ราคาปัจจุบัน
3900
จำนวนผู้เข้าชม
906 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
ชื่อร้าน
พีพีพระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0894483434
ID LINE
tanetbty
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 057-1-47965-6




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี